แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตาม
ข้อตกลงในการพัฒนา PA
นางสาวเอื้ออาทิตย์ อิ่มเต็ม
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษต่างประเทศ
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๗
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ไฟล์ข้อตกลง PA
เอกสารกำหนดชั่วโมง
พัฒนาของโรงเรียน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 17 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาอังกฤษเพื่อชีวิต จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาอังกฤษเพื่อชีวิต จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- กิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุม จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/ สัปดาห์
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ประเด็นท้าทายเรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะพูด Asking for and Giving Directions ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ
5 Fs Model
สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอังกฤษเพื่อชีวิต มัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่าผู้เรียนขาดทักษะในการสื่อสารโดยเฉพาะการสอบถามเส้นทางเวลาเจอชาวต่างประเทศเข้ามาสอบถามเส้นทาง ผู้เรียนไม่สามารถตอบคำถามได้ หรือแม้แต่จะถามถึงเส้นทางในการเดินทางไปยังที่ต่างๆ นักเรียนก็ไม่สามารถตั้งคำถามได้ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ ผู้สอนจึงใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Leaning ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนจึงต้องมีเป้าหมายในการเรียนรู้และรู้จักค้นหาแนวทางที่จะไปสู่ความรู้อย่างยั่งยืน ในการจัดการเรียนรู้นี้ ผุ้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าทายเรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะพูด Asking for and Giving Directions ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบบ 5 Fs Step Model
มีการจัดทำรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะ ที่สำคัญ ตามหลักสูตรสถานศึกษาและ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2561) โดยมีการออกแบบการ จัดการเรียนรู้ที่สามารถริเริ่มพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาใน การจัดการเรียนรู้ท าให้ผู้เรียน มีกระบวนการคิดและ ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning)
มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
เรียนรู้และทำงานร่วมกันโดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน
มีการอำนวยความสะดวกในการ เรียนรู้และส่งเสริม ผู้เรียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้ และทำงาน ร่วมกัน โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถริเริ่ม พัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา ในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ ผู้เรียนมีกระบวนการคิดและ ค้นพบองค์ความรู้ด้วย ตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ (ทำกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) ตามบริบทของสถานศึกษา ให้เหมาะสมกับรูปแบบการสอนทั้งแบบ ONLINE และ ON SITE
การสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนได้ออกแบบชิ้นงานโดยใช้เทคโนโลยี
การใช้ผังความก้าวหน้า
ในการบันทึกคะแนนการเรียนรู้
ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม
มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
ได้แจ้งปัญหาผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณท์ให้ผู้ปกครองทราบผ่านครูประจำชั้น โดยแจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงแนวทางในการแก้ปัญหา และเพื่อเป็นการแก้ปัญหาร่วมกันครูได้จัดทำใบงาน และ คลิปวีดีโอ เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเพิ่มเติม
เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการใช้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะ วิชาชีพครูและความรอบรู้ใน เนื้อหาวิชา และวิธีการ สอน และ นำผลการพัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ พัฒนาการใช้เทคโนโลยี เข้าร่วมการอบรมต่างๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน เข้าร่วมอบรมผ่านระบบออนไลน์ต่างๆ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้และทักษะ เพื่อน ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การมีส่วนร่วมชุมชนการเรียนรู้ PLC
ระดับประเทศผ่านเว็บไซต์ Inskru
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ประเด็นท้าท้าย
ประเด็นท้าทายเรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะพูด Asking for and Giving Directions ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้เทคนิคการเรียนแบบ 5Fs Step Model
2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) และหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563 ในเรื่องของมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของเนื้อหารายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2.2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบ 5Fs step Model
2.3 เปิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC ) โดยครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และเข้าไปสังเกตการ จัดการเรียนรู้ ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องในเนื้อหา การจัดกิจกรรม และสังเกตพฤติกรรม และแบบฝึกหัด พร้อมทั้งเสนอแนะ และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาปรับปรุง แก้ไขให้ผู้เรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษมากขึ้น ในการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2.4 ครูผู้สอนนนำกิจกรรมมาปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
2.5 ครูผู้สอนสร้างแบบทดสอบ และแบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรม
2.6 จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบ ใช้รูปแบบ 5Fs step Model กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยปรับบริบทให้เหมาะสมกับห้องเรียน ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้นักเรียน มีทักษะการพูดภาษาอังกฤษในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ผ่านรูปแบบ 5Fs step Model ดังนี้
1.จัดกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติของวิชา
2.จัดกิจกรรมอย่างหลากหลายและเหมาะสมกับผู้เรียน
3.ใช้สื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและผู้เรียน
4.ใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลอย่างเหมาะสม
5.วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
โดยผู้สอนจะดำเนินตามขั้นตอนดังนี้
1.วิเคราะห์ตัวชี้วัดหลักสูตรรายชั้น และวิเคราะห์ค าอธิบายรายวิชา เพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับเหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด
2.หลังจากนั้นก็ดำเนินตามขั้นตอน 5Fs คือ
2.1 Feel Free เป็นการสร้างความพร้อมให้กับผู้เรียน พร้อมที่จะรับความรู้ใหม่ ในขั้นนี้เป็นขั้นของการจัดการเรียน การสอน เพื่อนำเข้าสู่บทเรียนด้วยกิจกรรมต่างๆ เมื่อผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเรียน จึงเข้าสู่กระบวนการ Active Learning
2.2 Fun การใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกตามรูปแบบ Active Learning ด้วยกระบวนการที่หลากหลาย โดยพยายามจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ ๆ และสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานและเพลิดเพลิน
โดยผู้สอนจะดำเนินตามขั้นตอนดังนี้ (ต่อ)
2.3 Flexible มีความยืดหยุ่นตามบริบทตามสถานการณ์ และความถนัดของผู้เรียน โดยผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนกล้า คิด กล้าแสดงออก ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดเป็นและคิดวิเคราะห์ได้ เพื่อให้ผู้เรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข โดยข้อมูลที่ได้มาจากการ วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล และแบบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามธรรมชาติของวิชา
2.4 Friendly มีการวัดผลและประเมินผลทางการศึกษาแบบกัลยาณมิตร และน ามาสู่การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยเสริมแรงเชิงบวกให้กับผู้เรียนอยู่เสมอ โดยให้อิสระทางความคิดแก่ผู้เรียน
2.5 Fulfill คือการซ่อมเสริมในส่วนที่เป็นจุดอ่อนเสริมสร้างส่วนที่เป็นจุดแข็งให้กับผู้เรียน ให้อิสระทางด้านความคิดของ ผู้เรียน น ามาซึ่งการพัฒนาผู้เรียนอย่างยั่งยืน โดยใต้หลักการที่ว่า No one left behind และใช้การเน้นย้ำ ซ้ำทวนโดยให้ผู้เรียนได้ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อให้เกิด Long Term Memory
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง การจัดการเรียนรู้เชิงรุกตามกระบวนการแบบ Active Learning ผ่านรูปแบบ 5Fs step Model ถือเป็นทักษะ พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน จึงเป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่มีทั้งข้อมูลเนื้อหาวิชา ซึ่งเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทักษะชีวิต
อันจะก่อให้เกิดความรู้และทักษะที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความมุ่งหมายทางการศึกษาอย่างแท้จริง
3.2 เชิงคุณภาพ
3.1ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 120 คน ได้รับการริเริ่มพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบ 5Fs step Model ดังนี้
1.) แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 65 ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
2.) แบบฝึกรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 65 ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
3.) ชิ้นงานในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 65 ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
4.) ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียน ที่ไม่ผ่านเกณฑ์
3.2 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 120 คน ได้รับการแก้ปัญหา ด้านทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้รูปแบบ 5Fs step Model ในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อชีวิต และในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ และผู้เรียนยังมีการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ ตาม รูปแบบ 5Fs step Model จากการพัฒนาตนเอง และการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครูผู้สอน
ดร.กรวิทย์ เลิศศิริโชติ
ผู้อำนวยการ
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านเป็นอย่างสูง
นางสาวสุรวยพร พราววิโรจน์
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ผศ.ดร. กัญณภัทร นิธิศวราภากุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร